สรุประเบียบการลาของพนักงาน
สรุประเบียบการลาของพนักงาน
ประเภทบุคลากร |
ประเภทการลา |
เงื่อนไขการลา |
ระเบียบที่อ้างถึง |
พนักงานเทศบาล |
ลาป่วย |
- เสนอใบลาในวันที่ลาหรือวันที่มาปฏิบัติงานวันแรก - ลาตั้งแต่ ๓ วันขึ้นไปต้องมีใบรับรองแพทย์ - ลาป่วยรวมกับลากิจต้องไม่เกิน ๒๓ วัน จึงจะมีสิทธิเลื่อนขั้นเงินเดือน
|
ข้อ ๒๓๐ , ข้อ ๓๕๑ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
ลากิจ |
- ลาโดยได้รับเงินเดือนไม่เกิน ๔๕ วันทำการ - เสนอใบลาก่อน เมื่อผู้บังคับบัญชาอนุญาตจึงหยุดราชการได้ - กรณีไม่สามารถเสนอใบลาก่อนได้ ให้จัดส่งใบลาพร้อมเหตุผลความจำเป็นต่อผู้บังคับบัญชาทันทีในวันที่มาปฏิบัติงานวันแรก - ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร (ต่อจากลาคลอดบุตร) ลาได้ไม่เกิน ๓๐ วันทำการ |
ข้อ ๓๕๓ , ข้อ ๓๕๔, ข้อ ๓๕๕ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
ลาคลอด |
- ลาได้ ๙๐ วัน โดยไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์ - เสนอใบลาก่อน เว้นแต่ไม่สามารถลงชื่อได้ให้ผู้อื่นลาแทนได้ แต่เมื่อลงชื่อได้แล้วให้จัดส่งใบลาโดยเร็ว - ถ้าลาแล้วไม่ได้คลอดให้ถือว่าวันที่หยุดไปแล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว |
ข้อ ๓๕๒ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
ลาพักผ่อน |
- สามารถลาได้ปีละ ๑๐ วันทำการ - สามารถสะสมได้ไม่เกิน ๒๐ วันทำการ - สามารถสะสมได้ไม่เกิน ๓๐ วันทำการ (รับราชการ ๑๐ ปีขึ้นไป) - ถ้าบรรจุไม่ถึง ๖ เดือน : ไม่มีสิทธิ์ - หากเสนอใบลาต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงหยุดได้ - ถ้ามีราชการจำเป็น : สามารถเรียกตัวกลับได้ |
ข้อ ๓๕๘,ข้อ ๓๕๙, ข้อ ๓๖๐ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
สรุประเบียบการลาของพนักงาน
ประเภทบุคลากร |
ประเภทการลา |
เงื่อนไขการลา |
ระเบียบที่อ้างถึง |
|
การลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัจย์ |
กรณีไม่เกิน ๑๒๐ วัน - ต้องไม่เคยลาประเภทนี้มาก่อน - รับราชการไม่น้อยกว่า ๑ ปี - เสนอใบลาก่อนอุปสมบท หรือออกเดินทางไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน - อุปสมบท หรือเดินทางภายใน ๑๐ วัน - เสร็จแล้ว รายงานตัวภายใน ๕ วัน - หากลาแล้วขอถอนวันลา ถือว่าวันที่หยุดไปเป็นวันลากิจส่วนตัว |
ข้อ ๓๖๔ , ข้อ ๓๖๕ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
การเข้ารับการตรวจเลือก/เตรียมพล เข้ารับการตรวจเลือก : เพื่อรับราชการเป็นทหารกองประจาการ |
- ให้รายงานผู้บังคับบัญชาก่อนไม่น้อยกว่า ๔๘ ชม. เข้ารับการเตรียมพล : เข้ารับการระดมพล ตรวจสอบพล ฝึกวิชาการทหาร ทดสอบความพรั่งพร้อม - รายงานผู้บังคับบัญชาภายใน ๔๘ ชม. นับแต่รับหมายเรียก ลาได้ตามระยะเวลาของภารกิจในหมายเรียก เสร็จภารกิจให้กลับภายใน ๗ วัน (ต่อได้รวมแล้วไม่เกิน ๑๕ วัน) |
ข้อ ๓๖๖ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
การลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย |
- เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับ |
ข้อ ๓๖๘ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
การลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว่างประเทศ |
การลาไปปฏิบัติงานฯ มี ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ ๑ - องค์การฯ ซึ่งไทยเป็นสมาชิก และถึงวาระต้องส่ง - รัฐบาลไทยมีข้อผูกพันที่จะต้องส่งฯ ตามความตกลงระหว่างประเทศ - ไปศึกษา/ปฏิบัติการวิจัย ต้องรับราชการมาไม่น้อยกว่า ๑ ปี - ส่งเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของประเทศตามความต้องการรัฐบาลไทย |
ข้อ ๓๗๐ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
สรุประเบียบการลาของพนักงาน
ประเภทบุคลากร |
ประเภทการลา |
เงื่อนไขการลา |
ระเบียบที่อ้างถึง |
|
|
ประเภทที่๒ - นอกเหนือจากประเภทที่ ๑ |
|
|
การลาติดตามคู่สมรส |
เป็นคู่สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งเป็น ข้าราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ ลาได้ไม่เกิน ๒ ปี - ต่อได้อีก ๒ ปี รวมไม่เกิน ๔ ปี - ถ้าเกินให้ลาออก ไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา ผู้มีอำนาจจะอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ และคู่สมรสต้องอยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการติดต่อกัน ครบกำหนด ๔ ปี ไม่มีสิทธิลา ยกเว้นคู่สมรสกลับมาแล้วและได้รับคำสั่งให้ไปอีก |
ข้อ ๓๗๗,ข้อ ๓๗๘, ข้อ ๓๗๙ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
ลูกจ้างประจำ |
ลาป่วย |
-ไม่เกิน ๖๐ วัน (กรณีปกติ) -เกิน ๓ วันต้องมีใบรับรองแพทย์ |
ข้อ ๔๒๖ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
ลากิจ |
- ไม่เกิน ๔๕ วันทำการ
|
ข้อ ๔๒๗ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
ลาพักผ่อน |
- เป็นไปตามกำหนดสำหรับพนักงานเทศบาลโดยอนุโลม |
ข้อ ๔๒๘ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
สรุประเบียบการลาของพนักงาน
ประเภทบุคลากร |
ประเภทการลา |
เงื่อนไขการลา |
ระเบียบที่อ้างถึง |
|
ลาคลอดบุตร |
- ลาได้ ๙๐ วัน โดยไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์ - ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร (ต่อจากลาคลอดบุตร) ลาได้ไม่เกิน ๓๐ วันทำการ |
ข้อ ๔๒๙ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
|
การลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัจย์ |
กรณีไม่เกิน ๑๒๐ วัน - ต้องไม่เคยลาประเภทนี้มาก่อน - รับราชการไม่น้อยกว่า ๑ ปี - เสนอใบลาก่อนอุปสมบท หรือออกเดินทางไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน - อุปสมบท หรือเดินทางภายใน ๑๐ วัน - เสร็จแล้ว รายงานตัวภายใน ๕ วัน - หากลาแล้วขอถอนวันลา ถือว่าวันที่หยุดไปเป็นวันลากิจส่วนตัว |
ข้อ ๔๓๐ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ |
พนักงานจ้างตามภารกิจ |
ลาป่วย |
- มีสิทธิลาได้ไม่เกิน ๖๐ วัน (กรณีปกติ) - กรณีเพราะเหตุปฏิบัติหน้าที่ ลาเท่าที่นายกเทศมนตรีเห็นสมควรอนุญาต - เกิน ๓ วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์
|
ข้อ ๕๙ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ |
|
ลากิจ |
- ไม่เกิน ๔๕ วันทำการ - ในปีแรกที่บรรจุ ไม่เกิน ๑๕ วันทำการ - เสนอใบลาก่อน เมื่อได้รับอนุญาตจึงหยุดราชการได้ - กรณีไม่สามารถเสนอใบลาก่อนได้ ให้จัดส่งใบลาพร้อมเหตุผลความจำเป็นต่อผู้บังคับบัญชาทันทีในวันที่มาปฏิบัติงานวันแรก |
ข้อ ๖๐ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ |
|
ลาพักผ่อน |
- ไม่เกิน ๑๐ วันทำการ - ในปีแรกที่ได้รับการบรรจุยังไม่ครบ ๖ เดือน ไม่มีสิทธิลา |
ข้อ ๖๑ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๗) |
สรุประเบียบการลาของพนักงาน
ประเภทบุคลากร |
ประเภทการลา |
เงื่อนไขการลา |
ระเบียบที่อ้างถึง |
|
ลาคลอดบุตร |
- มีสิทธิลา ๙๐ วัน - ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาไม่เกิน ๔๕ วัน และได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรจากกองทุนประกันสังคม |
ข้อ ๖๒ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๗) |
|
การลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัจย์ |
- ไม่เกิน ๑๒๐ วัน - ต้องไม่เคยลาประเภทนี้มาก่อน - เสนอใบลาก่อนอุปสมบท หรือออกเดินทางไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน
|
ข้อ ๖๓ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ |
|
การเข้ารับการตรวจเลือก/เตรียมพล เข้ารับการตรวจเลือก : เพื่อรับราชการเป็นทหารกองประจาการ |
- ให้แสดงจำนวนวันเดินทางและวันที่ต้องอยู่เพื่อตรวจคัดเลือกเพื่อประกอบการพิจารณา - เสร็จภารกิจถ้าไม่มารายงานตัวภายใน ๗ วัน ให้งดจ่ายค่าตอบแทน |
ข้อ ๖๔ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ |
พนักงานจ้างทั่วไป |
ลาป่วย |
กรณีปกติ - ระยะเวลาการจ้าง ๑ ปี ไม่เกิน ๑๕ วันทำการ - ระยะเวลาการจ้าง ๙ เดือน แต่ไม่ถึง ๑ ปี ไม่เกิน ๘ วันทำการ - ระยะเวลาการจ้าง ๖ เดือน แต่ไม่ถึง ๙ เดือน ไม่เกิน ๖ วันทำการ - ระยะเวลาการจ้างต่ำกว่า ๖ เดือน ไม่เกิน ๔ วันทำการ กรณีเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน - ไม่เกิน ๖๐ วัน |
ข้อ ๕๙ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ |
|
ลาคลอดบุตร |
- มีสิทธิลา ๙๐ วัน - ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาไม่เกิน ๔๕ วัน และได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรจากกองทุนประกันสังคม |
ข้อ ๖๒ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๗) |
สรุประเบียบการลาของพนักงาน
ประเภทบุคลากร |
ประเภทการลา |
เงื่อนไขการลา |
ระเบียบที่อ้างถึง |
|
การเข้ารับการตรวจเลือก/เตรียมพล เข้ารับการตรวจเลือก : เพื่อรับราชการเป็นทหารกองประจาการ |
- การเข้ารับการฝึกวิชาทหารมีสิทธิลาไม่เกิน ๖๐ วัน - การลาเพื่อเข้ารับการระดมพลหรือเข้ารับการทดลองความพรั่งพร้อม มีสิทธิลาได้ไม่เกิน ๓๐ วัน |
ข้อ ๖๔ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ |
|
ลาพักผ่อน |
- ไม่เกิน ๑๐ วันทำการ - ในปีแรกที่ได้รับการบรรจุยังไม่ครบ ๖ เดือน ไม่มีสิทธิลา |
ข้อ ๖๑ ประกาศ ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๗) |